งานประเมินเว็บของวิชา Computer and Presentation

การประเมิน Blog ของตัวเอง
-เนื้อหาเกี่ยวกับ
ครอบครัวอบอุ่น
ความหมายของครอบครัว ความสำคัญของครอบครัว หน้าที่ของครอบครัว

-วัตถุประสงค์/เป้าหมาย

1. เพื่อเผยแพร่บทความเกี่ยวกับครอบครัวให้บุคคลทั่วไปเกิดความตระหนักที่ว่าครอบครัวมีความสำคัญกับเราและการสร้างครอบครัวให้อบอุ่น

2.เพื่อทราบถึงความหมายของครอบครัว ความเป็นมาของครอบครัว ความสำคัญของครอบครัวและบทบาทหน้าที่ของคนในครอบครัว อย่างถูกต้อง

3.เพื่อให้ทราบถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างชัดเจนและปฎิบัติตามบทบาทของตนเองอย่างถูกต้องเหมาะสมได้



-เนื้อหาเป็นประโยชน์ (ให้คะแนน 0-5)

  • 5

-ความน่าสนใจ (0-5)

  • 4

-ความทันสมัย (0-5)

  • 4

-การออกแบบ/ความสวยงาม (0-5)

  • 3

-ความเรียบง่าย(อ่านง่าย เข้าใจง่าย)(0-5)


  • 5


สรุปคะแนนที่ได้


  • 21

หลักการออกแบบพัฒนาผ่านเว็บไซต์



การออกแบบเว็บไซต์

องค์ประกอบพื้นฐานของการออกแบบเว็บไซต์
1.ความเรียบง่าย (Simplicity)
-มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อนและใช้งานได้อย่างสะดวก
-สื่อสารเนื้อหาถึงผู้ใช้โดยมีเฉพาะองค์ประกอบเสริมที่จำเป็นเท่านั้น
2.ความสม่ำเสมอ (Consistency)
-สร้างความสม่ำเสมอให้กับเว็บไซต์โดยใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ ทั้งในส่วนของรูปแบบหน้า สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชัน และโทนสีถ้าลักษณะของแต่ละหน้าในเว็บไซต์เดียวกัน แตกต่างกัน อาจทำให้ผู้ใช้เกิดความสับสนได้
3.ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
-การออกแบบต้องคำนึงถึงลักษณะขององค์กร
-รูปแบบของเว็บไซต์สามารถสะท้อนถึงเอกลักษณ์ขององค์กร
4.เนื้อหาที่มีประโยชน์ (Useful Content)
-ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์
-ควรมีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันต่อเหตุการณ์อยู่เสมอ
5.การใช้งานอย่างไม่จำกัด (Compatibility)
-ควรออกแบบเว็บไซต์ให้ครอบคลุมกับผู้ใช้ส่วนใหญ่มากที่สุด
-ไม่ควรมีการติดตั้งโปรแกรมเพิ่มเติม หรือเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่ง
-สามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและที่ความละเอียดหน้าจอต่าง ๆ กันได้อย่างไม่มีปัญหา
6.คุณภาพในการออกแบบ (Design Stability)
-ควรให้ความสำคัญกับการออกแบบเว็บไซต์
-ควรมีมาตรฐานการออกแบบและการจัดระบบข้อมูล
7.ระบบการใช้งานที่ถูกต้อง (Functional Stability)
-ระบบการทำงานต่าง ๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและทำหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง เช่น การกรอกข้อมูล การเชื่อมโยง เป็นต้น
-ควรมีการตรวจสอบการทำงานอยู่เสมอ



ปัจจัยสำคัญที่ผู้ใช้ต้องการจากเว็บไซต์

1.มีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ ตรงกับที่ผู้ใช้ต้องการ
2.มีการปรับปรุงเนื้อหา และพัฒนาเว็บไซต์อยู่เสมอ
3.ใช้เวลาในการดาวน์โหลดน้อย แสดงผลเร็ว
4.การใช้งานที่สะดวก เข้าใจง่าย



วิธีการสร้างเว็บเพจ
สร้างด้วยภาษา HTML
โดยการใช้โปรแกรมสร้างเอกสาร (Text Editor) โดยทั่วไป เช่น โปรแกรม NotePad โดยการใส่คำสั่ง (Tag) ของภาษา HTML เข้าไปโดยตรง วิธีนี้ผู้สร้างต้องมีประสบการณ์ และการเรียนรู้ภาษา HTML มาก่อน
สร้างด้วยโปรแกรมประยุกต์
เป็นการสร้างแบบที่เรียกว่า WYSIWYG (What-You-See-Is- What-You-Get) เช่น Dreamweaver, FrontPage เป็นต้น



โปรแกรมช่วยในการสร้างเว็บ
1. Macromedia Dreamweaver
2.Microsoft FrontPage
3.Allaire HomeSite
4.CoffeeCup
5.GoLive
6.HotDog Pro
7.HotMetaPro
8.NetObjects Fusion

Macromedia Dreamweaver
-สามารถออกแบบหน้าเว็บได้อย่างสะดวกโดยอาศัยเครื่องมือต่าง ๆ โดยไม่จำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับภาษา HTML
-มีหน้าจอในการแสดงหน้าจอการออกแบบและหน้าจอคำสั่ง
-มีระบบเทมเพลตที่จะทำให้ผู้ออกแบบสามารถใช้โครงสร้างเดียวกันทั้งเว็บไซต์
-มีเครื่องมือเพื่อช่วยในการดาวน์โหลดและอัพโหลดไฟล์ระหว่างเครื่องเซิร์ฟเวอร์กับเครื่องที่ใช้
พัฒนาเว็บเพจ

Microsoft FrontPage
-ลักษณะการทำงานใกล้เคียงกับโปรแกรมอื่น ๆ ที่อยูในชุด Office
มีระบบอำนวยความสะดวกแบบ Wizard
-มีระบบในการบริหารจัดการเว็บไซต์ เช่น ระบบรายงานเกี่ยวกับหน้าเว็บเพจที่แสดงผลช้า เว็บเพจที่ถูกเพิ่มเข้าไป ลิงค์ที่ใช้งานไม่ได้
-สามารถเชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลได้โดยสะดวก
-บางครั้งอาจมีคำสั่งเพิ่มเติมเข้ามาเกินความจำเป็น หรืออาจเปลี่ยนแปลงโค้ดโดยไม่รู้ตัว


Allaire HomeSite
-ช่วยในการเขียนโค้ดภาษา HTML ด้วยคุณสมบัติที่เรียกว่า Tag Insight และ Function Insight ซึ่งจะแสดงแอตตริบิวต์ที่เหมาะสมขึ้นมาให้เลือกใช้กับแท็กที่กำลังเขียน
-เหมาะสำหรับนักออกแบบเว็บที่ถนัดในการใช้ภาษา HTML


กระบวนการ 13 ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
hase 1 สำรวจปัจจัยสำคัญ (Research)
1. รู้จักตัวเอง – กำหนดเป้าหมายและสำรวจความพร้อม
2. เรียนรู้ผู้ใช้ – ระบุกลุ่มผู้ใช้และศึกษาความต้องการ
3. ศึกษาคู่แข่ง – สำรวจการแข่งขันและเรียนรู้คู่แข่งสิ่งที่ได้รับ

สิ่งที่ได้รับ
1. เป้าหมายหลักของเว็บไซต์
2. ความต้องการของผู้ใช้
3. กลยุทธ์ในการแข่งขัน

Phase 2 : พัฒนาเนื้อหา (Site Content)
4. สร้างกลยุทธ์การออกแบบ
5. หาข้อสรุปขอบเขตเนื้อหา
สิ่งที่ได้รับ
1.แนวทางการออกแบบเว็บไซต์
2.ขอบเขตเนื้อหาและการใช้งาน
3.ข้อมูลที่ถูกจัดอย่างเป็นระบบ
Phase 3 : พัฒนาโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure)
6. จัดระบบข้อมูล
7. จัดทำโครงสร้างข้อมูล
8. พัฒนาระบบเนวิเกชัน
สิ่งที่ได้รับ
1.แผนผังโครงสร้างข้อมูล
2.แนวทางการท่องเว็บระบบเนวิเกชัน
Phase 4 : ออกแบบและพัฒนาหน้าเว็บ (Visual design)
9. ออกแบบลักษณะหน้าตาเว็บเพจ
10. พัฒนาเว็บต้นแบบและข้อกำหนดสุดท้าย
สิ่งที่ได้รับ
1.ลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์
2.เว็บเพจต้นแบบที่จะใช้ในการพัฒนา
3.รูปแบบโครงสร้างของเว็บไซต์
4.ข้อกำหนดในการพัฒนาเว็บไซต์
hase 5 : พัฒนาและดำเนินการ (Production and Operation)
11. ลงมือพัฒนาเว็บเพจ
12. เปิดตัวเว็บไซต์
13. ดูแลและพัฒนาต่อเนื่อง
สิ่งที่ได้รับ
1.เว็บไซต์ที่สมบูรณ์
2.เปิดตัวเว็บไซต์และทำให้เป็นที่รู้จักแนวทางการดูแลและพัฒนาต่อไป




หลักในการออกแบบเว็บไซต์
1.การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Website Structure Design)
2.การออกแบบหน้าตาเว็บไซต์ (Website Interface Design)

การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์

-Site Map
-เป็นการวางแผนเนื้อหาของเว็บไซต์ เพื่อเป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจทั้งหมด
-เปรียบเสมือนแผนที่ที่ทำให้เห็นโครงสร้างทั้งหมดของเว็บไซต์
-ช่วยในการออกแบบเว็บไซต์เพื่อไม่ให้หลงทาง หรือการเชื่อมโยงแต่ละหน้า
-เป็นการนำเสนอแนวความคิดแบบลำดับชั้นจากส่วนใหญ่ไปหาส่วนย่อย หรือที่เรียกว่าแบบบนลงล่าง (Top Down Thinking)
-Site Map ที่ดี
-ทุก ๆ เว็บเพจจะต้องมีลิงก์ทางออกเสมอ
-ทุก ๆ เว็บเพจควรมีลิงก์กลับหน้าโฮมเพจ หรือจุดเริ่มต้น
-ควรมีหน้าแสดง Site Map ในกรณีที่เว็บไซต์มีจำนวนหน้ามาก ๆ
-สามารถประเมินราคาจาก Site Map ได้
การออกแบบหน้าเว็บไซต์
-ใช้งานง่ายและสะดวก โดยมีระบบ Navigation หรือระบบนำทางที่ดี
-เข้าใจง่าย การใช้งานไม่ซับซ้อน
-มองเห็นได้ชัด ควรวางไว้ด้านซ้าย หรือด้านบน
-อย่าเคลื่อนย้ายไปมา
-ควรมีลิงก์กลับไปยังโฮมเพจ
-มีการออกแบบกราฟิกที่สวยงาม สื่อความหมาย
-ไม่ควรเสียเวลาโหลดภาพมากเกินไป
-ขนาดกราฟิกรวมกันไม่ควรเกิน 75 KB
-เป็น Flash ไม่ควรเกิน 120 KB
-ภาพรวมทั้งหมดควรออกมาในอารมณ์เดียวกัน (Theme) หรือโครงเดียวกัน แนวความคิดเดียวกัน



รูปแบบของเว็บไซต์
1.แบบ Content
2.แบบ Image
3.แบบผสม

แบบ Content
-ลักษณะงานจะเป็นภาพกราฟิกเล็ก ๆ มาเรียงกันเป็นหน้าเว็บเพจ
-จะมีเนื้อหามากกว่ารูป
-พัฒนามาจากการเขียนด้วยภาษา HTML
-มีข้อดีคือ ความเร็วในการโหลด

แบบ Image
-เป็นภาพกราฟิกขนาดใหญ่เต็มหนึ่งหน้า แล้วตัดแบ่งเป็นชิ้นเล็ก ๆ (Slice Image) มาวางเรียงกัน เพื่อความเร็วในการดาวน์โหลด และแสดงผล
-มีรูปแบบที่สวยงามและหลายหลาย โดยจะทำการสร้างจากโปรแกรมสร้างรูป หรือตกแต่งรูปโดยทั่วไป
-เหมาะกับหน้าที่มีเนื้อหาน้อย ต้องการความสวยงามเป็นหลัก
-หากภาพใหญ่จะทำให้การดาวน์โหลดช้า

แบบผสม
-เป็นการผสมผสานระหว่างแบบ Content และแบบ Image

ความผิดพลาดในการออกแบบเว็บไซต์
-ใช้โครงสร้างหน้าเว็บเป็นระบบเฟรม
-ใช้เทคโนโลยีชั้นสูงโดยไม่จำเป็น
-ใช้ตัวหนังสือหรือภาพที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา
-มีที่อยู่เว็บไซต์ที่ซับซ้อน (URL) ยากต่อการจดจำและพิมพ์
-ไม่มีการแสดงชื่อและที่อยู่ของเว็บไซต์ในหน้าเว็บเพจ
-มีความยาวของหน้ามากเกินไปขาดระบบเนวิเกชันที่มีประสิทธิภาพ

-ใช้สีของลิงค์ไม่เหมาะสม
-ข้อมูลเก่าไม่มีการปรับปรุงให้ทันสมัย
-เว็บเพจแสดงผลช้า
-มีรายงานวิจัยว่า ถ้าเกิน 8 วินาที ผู้ใช้กว่า 90% จะเปลี่ยนไปดูเว็บอื่นแทน




แหล่งที่มาของข้อมูล
www.sut.ac.th/ist/Courses/WebBoard/PIC/a174.ppt









เกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา




เกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา
การประเมินได้แบ่งเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษาไว้ 4 เกณฑ์ ประกอบด้วย
1. การออกแบบ
2. เนื้อหา
3. รูปแบบวิธีการสอน
4. เทคนิคที่ใช้ในการสร้างเว็บไซต์
การออกแบบ
เนื่องด้วยเว็บไซต์ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่เป็นหน้าแรกของเว็บไซต์ที่เรียกว่า Homepage และส่วนที่เป็นเนื้อหา (Web page) หลายๆ หน้ารวมกัน เรียกว่า Web Pages
Homepage เป็นหน้าเว็บหน้าแรกของเว็บไซต์ ซึ่งมีต้องมีจุดเด่นมาก เพื่อดึงดูดให้ผู้ชมเข้า
มาเยี่ยมชมเว็บไซต์และเกิดความประทับใจ อยากเข้ามาเยี่ยมชมอยู่เรื่อยๆ
เกณฑ์การประเมินสำหรับ Homepage
แนวคิดในการออกแบบ
1.สำหรับเด็กนักเรียน
2.สำหรับนักศึกษา
3.สำหรับบุคคลทั่วไป
4. บริการฟรี
5. เก็บค่าลงทะเบียน
องค์ประกอบ
1.ชื่อเรียกเว็บไซต์
2.หัวเรื่องสำหรับเว็บไซต์
3. Member Login (สมัครสมาชิก, เข้าใช้บริการ)
4.ประกาศข่าว/เนื้อหาปรับปรุงที่น่าสนใจ
การใช้สี
1. สีตัวอักษร
2. สีพื้นเว็บ
3. สีภาพประกอบ


การพัฒนาเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา โดย…บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ {PAGE }
1. สีวัตถุอื่นๆ ที่นำมาประกอบ สื่อลักษณะต่างๆ
2.การใช้ภาพนิ่ง (ภาพถ่าย, ภาพวาด)
3. การใช้ภาพเคลื่อนไหว (Animation Gif, Flash)
4. การใช้วีดิทัศน์ (Video for Windows, MPEG, Real, QuickTime…)
เกณฑ์การประเมินสำหรับเว็บเพจหน้าเนื้อหา
แนวคิดในการออกแบบ
1. สำหรับเด็กนักเรียน
2.สำหรับนักศึกษา
3.สำหรับบุคคลทั่วไป
องค์ประกอบ
1.ชื่อเรียกเว็บไซต์
2.หัวเรื่องสำหรับเว็บไซต์
3.Member Zone (ปรับปรุง, ตรวจสอบข้อมูลสมาชิก)
4.เมนูเลือกเนื้อหา
5.เนื้อหา
การใช้สี
1. สีตัวอักษร
2. สีพื้นเว็บ
3.สีภาพประกอบ
4.สีวัตถุอื่นๆ ที่นำมาประกอบ เช่น สีของเมนู
สื่อลักษณ ะต่างๆ
1.การใช้ภาพนิ่ง (ภาพถ่าย, ภาพวาด)
2. การใช้ภาพเคลื่อนไหว (Animation Gif, Flash)
3. การใช้วีดิทัศน์ (Video for Windows, MPEG, Real, QuickTime…)



การพัฒนาเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา โดย…บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ {PAGE }
เนื้อหา เกณฑ์การประเมินเนื้อหาสำหรับเว็บไซต์
• ข้อมูลส่วนตัวสมาชิก ชื่อ, นามสกุล, วันเดือนปีเกิด
• ข้อมูลการทำงานของสมาชิก
• ข้อมูลการศึกษาของสมาชิก
• ข้อมูลการสมัครสมาชิก เช่น User Name, Password
รูปแบบวิธีการสอน
• กิจกรรมการเรียนการสอน
1.เนื้อหา Text ทั้งหมด
2. เนื้อหาประกอบเสียงและวีดิทัศน์ แบบ RealTime
3.เนื้อหาประกอบเสียงและวีดิทัศน์ แบบดาวน์โหลด
• บทบาทของครู
1. ติดต่อกับนักเรียนด้วย Mail
2.ติดต่อกับนักเรียนด้วย Webboard
3. ติดต่อกับนักเรียนด้วย Chat
• บทบาทของนักเรียน
1.ติดต่อกับครูด้วย Mail
2. ติดต่อกับครูด้วย Webboard
3. ติดต่อกับครูด้วย Chat
• เวลาที่ใช้ในการเรียน
1.เลือกเวลาเรียนอิสระ
2. กำหนดเวลาเรียนตายตัว
• การทดสอบ/ประเมินผล
1.ประเมินผลกับอาจารย์แบบปกติ
2. ประเมินผลผ่านเว็บไซต์







การพัฒนาเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์ทางการศึกษา โดย…บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ {PAGE }
เทคนิคในการพัฒนาเว็บไซต์
• การกำหนดโครงสร้างของเว็บไซต์
1. การตั้งชื่อไฟล์และโฟลเดอร์
2. การกำหนดโฟลเดอร์หลักและโฟลเดอร์ย่อย
• การแสดงผลภาษาไทย
1.การแสดงผลภาษาไทยผ่านเบราเซอร์ต่างๆ
2. การตั้งค่าการเข้ารหัสและถอดรหัสภาษา
• การสนับสนุนโปรแกรมค้นหาต่างๆ (Search Engine)
1. การกำหนดชื่อเว็บไซต์ (Title)
2. การกำหนดค่าสำหรับเว็บค้นหาผ่าน Meta Tag ต่างๆ
• ความถูกต้องในการเชื่อมโยง (Link)
1. ความถูกต้องในการเชื่อมโยงกับไฟล์เอกสารเว็บ
2. ความถูกต้องในการเชื่อมโยงไปหาเว็บอื่นๆ
3. ความถูกต้องในการดาวน์โหลดไฟล์/โปรแกรม
4. ความถูกต้องในการเชื่อมโยง



แหล่งที่มาของข้อมูล
www.radompon.com/webboard/index.

การวิเคราะห์และการประเมินผลสื่อนำเสนอแบบต่างๆ


การวิเคราะห์และการประเมินผลสื่อนำเสนอแบบต่างๆ

วิเคราะห์ข้อมูลที่จะนำเสนอภายในเว็บไซต์
สิ่งที่ผู้พัฒนาเว็บไซต์ต้องทำเป็นอันดับแรกเมื่อพัฒนาเว็บไซต์ คือ ต้องทราบก่อนว่าเว็บไซต์ที่จะจัดทำขึน้ นั้นมีวัตถุประสงค์และลักษณะขององค์กรเป็นแบบใดสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ข้อมูลที่จะนำเสนอเป็นข้อมูลอะไรซึ่งผู้พัฒนาเว็บไซต์จะต้องคำนึงถึงเป็นประเด็นหลักในการจัดทำเว็บไซต์ ผู้พัฒนาเว็บไซต์จะต้องใส่ใจกับเรื่องเนื้อหาอย่างเป็นพิเศษเนื่องจากเนื้อหาจะเป็นตัวกำหนดคุณลักษณะต่างๆของเว็บไซต์ ไม่ว่าจะเป็นสีที่จะใช้รูปแบบการนำเสนอหรือแนวคิดวัตถุประสงค์ในการจัดทำเว็บไซต์ ทัง้ หมดนัน้ ก็เพื่อความเป็นระเบียบและความสวยงามของเว็บไซต์

หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นการวิเคราะห์ Analysis
2. ขั้นการออกแบบ Design
3. ขั้นการพัฒนา Development
4. ขั้นการนำไปใช้ Implementation
5. ขั้นการประเมินผล Evaluation

ขั้นตอนการพัฒนา ADDIE model
1.ขั้นตอนการวิเคราะห์ (Analysis) ประกอบด้วยรายละเอียดแต่ละส่วนดังนี้
1.1 การกำหนดหัวเรื่องและวัตถุประสงค์ทั่วไป
1.2 การวิเคราะห์ผู้เรียน
1.3การวิเคราะห์วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1.4 การวิเคราะห์เนื้อหา ขั้นตอนการออกแบบ (Design) ประกอบด้วยรายละเอียดแต่ละส่วน ดังนี้
1.4.1 การออกแบบ Courseware (การออกแบบบทเรียน) ซึ่งจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เนื้อหา แบบทดสอบก่อนบทเรียน (Pre-test) สื่อ กิจกรรม วิธีการนำเสนอ และแบบทดสอบหลังบทเรียน (Post-test)
1.4.2 การออกแบบผังงาน (Flowchart) และการออกแบบบทดำเนินเรื่อง (Storyboard)(ขั้นตอนการเขียนผังงานและสตอรี่บอร์ดของ อลาสซี่)
1.4.3 การออกแบบหน้าจอภาพ (Screen Design) การออกแบบหน้าจอภาพ หมายถึง การจัดพื้นที่ของจอภาพเพื่อใช้ในการนำเสนอเนื้อหา ภาพ และส่วนประกอบอื่นๆ
2. การสร้างบทเรียน หลังจากได้เตรียมข้อความ ภาพ เสียง และส่วนอื่น เรียบร้อยแล้ว ขั้นต่อไปเป็นการสร้างบทเรียนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จัดการ เพื่อเปลี่ยนสตอรี่บอร์ดให้กลายเป็นบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3. การสร้างเอกสารประกอบการเรียน หลังจากสร้างบทเรียนเสร็จสิ้นแล้ว ในขั้นต่อไปเป็นการตรวจสอบและทดสอบความสมบูรณ์ขั้นต้นของบทเรียน ขั้นตอนการนำไปใช้ (Implement) การนำบทเรียนคอมพิวเตอร์ไปใช้ โดยใช้กับกลุ่มตัวอย่างมาย เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของบทเรียนในขั้นต้น หลังจากนั้น จึงทำการปรับปรุงแก้ไขก่อนที่จะนำไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายจริง เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน และนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสมและประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการประเมินผล (Evaluate) การประเมินผล คือ การเปรียบเทียบกับการเรียนการสอนแบบปกติ โดยแบ่งผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม เรียนด้วยบทเรียน ที่สร้างขึ้น 1 กลุ่ม และเรียนด้วยการสอนปกติอีก 1 กลุ่ม หลังจากนั้นจึงให้ผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม ทำแบบทดสอบชุดเดียวกัน และแปลผลคะแนนที่ได้ สรุปเป็นประสิทธิภาพของบทเรียน

ตรวจสอบและประเมินเว็บไซต์หลังจากพัฒนา ปรับปรุงเว็บไซต์
เมื่อทำการแก้ไข ปรับปรุงเว็บไซต์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นักพัฒนาสามารถนำเว็บไซต์ไปตรวจสอบกับ Web Checker หรือระบบแอพพลิเคชั่นขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐาน WCAG ได้อีกครั้ง เพื่อตรวจสอบอีกครั้งว่าเว็บไซต์นัน้ ได้ผ่านเกณฑ์ระดับความสำเร็จตามที่มาตรฐานกำหนดไว้หรือไม่ โดยหากเว็บไซต์ของท่านผ่านตามเกณฑ์ระดับความสำเร็จ ตารางแสดงผลการตรวจสอบจะปรากฏข้อความต่อไปนี้“CONDENTIONAL PASS WCAG1.0 (level AA)”เพราะฉะนั้นในการพัฒนาเว็บไซต์ให้เป็นเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ต่อไปนักพัฒนาเว็บไซต์ก็สามารถพัฒนาปรับปรุงเว็บไซต์ให้เป็นเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้โดยมีทางเลือกด้วยกัน 2 วิธี คือ วิธีแบบเริ่มจากศูนย์และวิธีแบบพัฒนาต่อจากของเดิม ตามรูปแบบในการพัฒนา ปรับปรุงเว็บไซต์ดังกล่าวข้างต้นทัง้ นี้ไม่ว่าเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือองค์กรที่ต้องการพัฒนา ปรับปรุงเว็บไซต์ให้เป็นเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้จะอยู่ในเกณฑ์ความสำเร็จระดับ A หรือยังไม่ผ่านเกณฑ์ ก็จะสามารถพัฒนาเว็บไซต์ให้เป็นเว็บไซต์ที่ทุกคนเข้าถึงได้ ตามแนวทางมาตรฐาน WCAG หรือ TWCAG 2008 และเทคนิคในการพัฒนาเว็บไซต์ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ซึ่งต่อไปการใช้งานเว็บไซต์สำหรับคนพิการหรือคนปกติทั่วไปก็จะไม่มีอุปสรรคในการเข้าถึงอีกต่อไป


แหล่งข้อมูล

http://learners.in.th/blog/thipjr08
http://www.equitable-society.com/Download/TWCAG2008.pdf

หลักการออกแบบพัฒนาผ่านเว็บไซต์


ออกแบบหน้าเว็บไซต์ (Page Design)

หน้าเว็บเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้จะได้เห็นขณะที่เปิดเข้าสู่เว็บไซต์ และยังเป็นสิ่งแรกที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการออกแบบเว็บไซต์อีกด้วย หน้าเว็บจึงเป็นสิ่งสำคัญมาก เพราะเป็นสื่อกลางให้ผู้ชมสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลของระบบงานของเว็บไซต์นั้นได้

1. หลักการออกแบบหน้าเว็บ
1.1 สร้างลำดับชั้นความสำคัญขององค์ประกอบ
1.2 สร้างรูปแบบ บุคลิก และสไตล์
1.3 สร้างความสม่ำเสมอตลอดทั่วทั้งไซด์
1.4จัดวางองค์ประกอบที่สำคัญไว้ส่วนบนของหน้าเสมอ
1.5สร้างจุดสนใจด้วยความแตกต่าง
1.6 จัดแต่งหน้าเว็บให้เป็นระเบียบเรียบง่าย และแยกเป็นสัดส่วน
1.7 ใช้กราฟิกอย่างเหมาะสม

2. รูปแบบโครงสร้างของหน้าเว็บ
รูปแบบโครงสร้างหน้าเว็บที่เราเห็นกันอยู่ทั่วไปนั้น มีหลากหลายรูปแบบซึ่งสามารถแบ่งกลุ่มได้ตามโครงสร้าง ซึ่งมีที่พบบ่อย ๆ อยู่ 4 ประเภท ได้แก่
2.1โครงสร้างหน้าเว็บในแนวตั้ง ถือเป็นโครงสร้างที่ได้รับความนิยมมากที่สุดเพราะเป็นรูปแบบที่ง่ายในการพัฒนา
2.2โครงสร้างหน้าเว็บในแนวนอน ต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์และความพยายามมากกว่าปกติ
2.3โครงสร้างหน้าเว็บที่พอดีกับหน้าจอ โดยทั่วไปรูปแบบนี้จะใช้พื้นที่หน้าจอน้อยกว่าเว็บทั่วไป
2.4โครงสร้างหน้าเว็บแบบสร้างสรรค์ รูปแบบนี้เป็นโครงสร้างที่อยู่เหนือกฎเกณฑ์

3. ส่วนประกอบของหน้าเว็บ
เราสามารถแบ่งหน้าเว็บเพจออกได้ 3 ส่วนประกอบหลัก ๆ ได้แก่ ส่วนหัว ส่วนเนื้อหา และส่วนท้าย ซึ่งแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
3.1 ส่วนหัวของหน้า (Page Header) ถือเป็นบริเวณที่สำคัญที่สุดของหน้า เพราะเป็นส่วนที่จะดึงดูดผู้ใช้ให้ติดตามเนื้อหาที่เหลือภายในหน้าดังกล่าว
3.2ส่วนของเนื้อหา (Page Body) ควรจะมีความกะทัดรัด และจัดเป็นระเบียบเพื่อให้มองเห็นข้อมูลได้รวดเร็ว โดยแสดงใจความสำคัญไว้ในส่วนต้น ๆ ของหน้า
3.3ส่วนท้ายของหน้า (Page Footer) เป็นส่วนที่จะให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาและเว็บไซต์




เทคนิคการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
1. เตรียมความพร้อมก่อนการติดตั้ง การติดตั้ง PC Web Servers การติดตั้ง และปรับแต่งแก้ไข Apache
การเตรียมฐานข้อมูล MySQL
2. การติดตั้งและการตั้งค่า การติดตั้ง Joomla การทำ Configuration ฐานข้อมูล และตั้งค่าต่าง
3. โครงสร้างสำคัญของระบบการทำงาน และการจัดการข้อมูล ศึกษา Admin Control Panel รูปแบบเทมเพลท (template) และการเลือกเทมเพลท (template) ให้เหมาะกับ Concept ของ ประเภทของเว็บไซต์ รู้จักหน้าที่ของคอมโพเน้นท์ (component) ต่างๆ ที่มีมากับระบบ และการประยุกต์ใช้งาน รู้จักหน้าที่ของโมดูล (module) ต่างๆ ที่มีมากับระบบ และ การประยุกต์ใช้งาน ศึกษาระบบ Front-End และ Back-End อย่างเจาะลึก
4. การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ที่เน้นประสิทธิภาพทางการตลาด
5. Work Shop ฝึกปฏิบัติจริง


แนะนำตัว




ชื่อ นางสาวสุนารี เจตสิทธิ์


รหัส 50011410086


สาขา สาธารณสุขศาสตร์


คณะสาธารณสุขศาสตร์


แนะนำตัว